28 มีนาคม 2568

ขับเคลื่อนอุตสาหกรรมสัตว์น้ำยุคใหม่ด้วยพลังเทคโนโลยีและนวัตกรรม

Driving Modern Aquaculture Industry with the Power of Technology and Innovation

วิทยากร
  • ดร.กอบกุล เหล่าเท้ง
  • ดร. กัลยาณ์ ศรีธัญญลักษณา-แดงติ๊บ
  • คุณมณทกานติ ท้ามติ้น
  • คุณจิรบูรณ์ ประสารพันธุ์
  • ดร. เสจ ไชยเพ็ชร
  • ดร. เพทาย จรูญนารถ
  • ดร. วีระพงษ์ วรประโยชน์
  • Dr. Barbara Hostins
  • คุณจุฑา อินแป้น
  • คุณอุสมาน นิลสอาด
  • คุณธัชวิน วิวัฒนโสภา
  • ดร. ยศกร ประทุมวัลย์
  • ดร. ศุภนิจ พรธีระภัทร
  • คุณบดินทร์ ชีวธนากรณ์กุล
  • คุณณัฐพงศ์ อตินันทชัย 
  • อ. วินิจ ตันสกุล
  • ดร. อภิรดี หงส์ทอง
  • คุณเสริมศักดิ์ พุ้ยมอม
  • ดร. มี โชค ชูดวง
  • ดร. วณิลดา รุ่งรัศมี
  • ดร. บรรพท ศิริเดชาดิลก
  • ศ.ดร. สุรินทร บุญอนันธนสาร
  • ดร. ศุภรัตน์ แตงชัยภูมิ
  • ดร. วัฒนา เปลยันทะ
  • ดร. สรวิศ เผ่าทองศุข

จากการที่อุตสาหกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในประเทศไทยประสบปัญหาทั้งทางด้านผลผลิตและการตลาด การพัฒนาด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมจะเป็นปัจจัยสำคัญที่จะสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมในอนาคต การประชุมวิชาการประจำปี 2568 ของ สวทช. ภายใต้หัวข้อเรื่อง การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมสัตว์น้ำยุคใหม่ด้วยพลังเทคโนโลยีและนวัตกรรม มุ่งเน้นการนำเสนอเทคโนโลยีใหม่ที่จะมีบทบาทอย่างมากต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมในปัจจุบันและอนาคต เช่น เทคโนโลยีด้านปัญญาประดิษฐ์เพื่อการเลี้ยงสัตว์น้ำแบบแม่นยำ เทคโนโลยีการแก้ไขยีน (gene editing) เทคโนโลยี bacteriophage เพื่อควบคุมโรค และเทคโนโลยีสัตว์น้ำอุ้มบุญ (Surrogate propagation) เป็นต้น เพื่อให้สามารถสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยในระดับเวทีโลกได้อย่างยั่งยืน

กำหนดการสัมมนา
08.30-09.00 น. ลงทะเบียน
09.00-09.10 น. กล่าวต้อนรับเข้าสู่การสัมมนาและขอบคุณผู้สนับสนุน

โดย ดร.กอบกุล เหล่าเท้ง
รักษาการรองผู้อำนวยการ
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) สวทช.

09.10-10.20 น. Section 1 การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมสัตว์น้ำยุคใหม่

  • นวัตกรรมสนับสนุนประสิทธิภาพการผลิตสัตว์น้ำ
    โดย ดร. กัลยาณ์ ศรีธัญญลักษณา-แดงติ๊บ
    ผู้อำนวยการกลุ่มวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพสัตว์น้ำแบบบูรณาการ ไบโอเทค สวทช. 
  • วาระแห่งชาติเพื่อเพิ่มผลผลิตกุ้งทะเลของประเทศ
    โดย คุณมณทกานติ ท้ามติ้น
    ผู้อำนวยการกองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง
  • แนวทางการพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดและการฟื้นฟูอุตสาหกรรมการผลิตปลาดุกลูกผสมบิ๊กอุย
    โดย คุณจิรบูรณ์ ประสารพันธุ์
    ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ผลิตปศุสัตว์ (สัตว์น้ำ)   บริษัท เบทาโกรเกษตรอุตสาหกรรม จำกัด

ผู้ดำเนินรายการ
ดร. เสจ ไชยเพ็ชร และ ดร. เพทาย จรูญนารถ
ไบโอเทค สวทช.

10.20-10.40 น. รับประทานอาหารว่าง
10.40-12.00 น. Section 2 พลังเทคโนโลยีและนวัตกรรมปัญญาประดิษฐ์ในอุตสาหกรรมสัตว์น้ำ (รูปแบบ flash talk) 

  • วิจัยและพัฒนา ต่อยอดสู่การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ในอุตสาหกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
    โดย ดร. วีระพงษ์ วรประโยชน์
    กลุ่มวิจัยส่วนผสมฟังก์ชั่นและนวัตกรรมอาหาร ไบโอเทค สวทช.
  • Turning Probiotic Bacteria into an Effective Microbial Management Tool for Shrimp Aquaculture
    โดย Dr. Barbara Hostins, INVE aquaculture
  • การประยุกต์ใช้นวัตกรรมการแปลงเพศและการปรับปรุงพันธุ์กุ้งก้ามกราม เพื่อเพิ่มผลกำไรในการผลิตกุ้งเนื้อ
    โดย คุณจุฑา อินแป้น
    ศูนย์วิจัยและปรับปรุงพันธุ์สัตว์น้ำจืดราชบุรี
    บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน)
  • การทำฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำแบบแม่นยำเพิ่มความสามารถในการแข่งขันระดับโลก
    โดย คุณอุสมาน นิลสอาด
    บริษัท ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)
  • DoFarm เว็บแอปพลิเคชั่นบริหารจัดการฟาร์มสัตว์น้ำ ครบ จบในที่เดียว
    โดย คุณธัชวิน วิวัฒนโสภา
    บริษัท ทรีโอ้ฟาร์ม จำกัด
  • การออกแบบและคำนวณเชิงวิศวกรรมสำหรับระบบการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำด้วยระบบน้ำหมุนเวียนแบบอัจฉริยะ
    โดย ดร. ยศกร ประทุมวัลย์
    หัวหน้าทีมวิจัยคอมพิวเตอร์ช่วยในการคำนวณทางวิศวกรรม
    กลุ่มวิจัยการออกแบบเชิงวิศวกรรมและการคำนวณ เอ็มเทค สวทช.
  • การพัฒนาเทคโนโลยี IoT Hybrid SUNLIGHT เพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
    โดย ดร. ศุภนิจ พรธีระภัทร
    ทีมวิจัยเทคโนโลยีเกษตรดิจิทัล ด้านวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบและเครือข่ายอัจฉริยะ เนคเทค สวทช.
  • การใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์​และคอมพิวเตอร์​วิชั่นในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
    โดย คุณบดินทร์ ชีวธนากรณ์กุล
    บริษัท อัลจีบา จำกัด
  • Land-based Marine Aquaculture
    โดย คุณณัฐพงศ์ อตินันทชัย
    บริษัท เอ็มเค อควาเทค จำกัด

ผู้ดำเนินรายการ
ดร. เสจ ไชยเพ็ชร และ ดร. เพทาย จรูญนารถ
ไบโอเทค สวทช.

12.00-13.00 น. รับประทานอาหารเที่ยง
13.00-14.20 น. Section 3 AI พลิกโฉมอุตสาหกรรมสัตว์น้ำสู่การคาดการณ์ผลผลิตแม่นยำ

  • AI in Action: อนาคตการเพาะเลี้ยงกุ้งในประเทศไทย
    โดย อ. วินิจ ตันสกุล
    ผู้เชี่ยวชาญด้านกลยุทธ์การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
  • แพลตฟอร์มปัญญาประดิษฐ์ค้นหาเปปไทด์ออกฤทธิ์ทางชีวภาพ เพื่อใช้ในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์น้ำ
    โดย ดร. อภิรดี หงส์ทอง
    หัวหน้าทีมวิจัยชีวศาสตร์และชีววิทยาระบบ กลุ่มวิจัยวิศวกรรมชีวเคมีและชีววิทยาระบบ ไบโอเทค สวทช.
  • การใช้งาน AI วิเคราะห์ข้อมูลคุณภาพน้ำและปัจจัยอื่นในบ่อเลี้ยงกุ้งขาว ภายใต้ขอบเขต บทความวิชาการ
    โดย
    คุณเสริมศักดิ์ พุ้ยมอม
    ประธานกรรมการ บริษัท อเดคนิค เอ็นจิเนียริ่ง โซลูชั่น จำกัด
  • การใช้ AI ในการช่วยระบุโรคกุ้งและแนวทางการต่อยอดในอุตสาหกรรมสัตว์น้ำ
    โดย ดร. มีโชค ชูดวง
    คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ผู้ดำเนินรายการ
ดร. วณิลดา รุ่งรัศมี
ไบโอเทค สวทช.

14.20-14.40 น. รับประทานอาหารว่าง
14.40-16.00 น. Section 4 พลังเทคโนโลยีและนวัตกรรมสัตว์น้ำแห่งอนาคต 

  • การพัฒนาสายพันธุ์กุ้งทนโรคด้วยเทคโนโลยี gene editing
    โดย ดร. บรรพท ศิริเดชาดิลก
    หัวหน้าทีมวิจัยการออกแบบและวิศวกรรมชีวโมเลกุลขั้นแนวหน้า
    กลุ่มวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพระดับโมเลกุลทางการแพทย์ ไบโอเทค สวทช.
  • Surrogate Technology (เทคโนโลยีอุ้มบุญ) ในสัตว์น้ำ
    โดย ศ.ดร. สุรินทร บุญอนันธนสาร
    สำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • จากองค์ความรู้สู่นวัตกรรม “เร่ง growth ลดเชื้อ EHP” ในลูกกุ้ง
    โดย ดร. ศุภรัตน์ แตงชัยภูมิ
    กลุ่มวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพสัตว์น้ำแบบบูรณาการ ไบโอเทค สวทช.
  • นวัตกรรมสารผสมแบคเทอริโอเฟจสำหรับการเพาะเลี้ยงกุ้ง
    โดย ดร. วัฒนา เปลยันทะ
    ศูนย์วิจัยวิทยาศาสตร์แห่งอนาคต สำนักวิชาวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

ผู้ดำเนินรายการ
ดร. สรวิศ เผ่าทองศุข
ไบโอเทค สวทช.

16.00 น. ปิดการสัมมนา

ผู้ดำเนินรายการหลัก
ดร. เสจ ไชยเพ็ชร และ ดร. เพทาย จรูญนารถ ไบโอเทค สวทช.

เกี่ยวกับวิทยากร
ดร.กอบกุล เหล่าเท้ง
รักษาการรองผู้อำนวยการศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
ดร. กัลยาณ์ ศรีธัญญลักษณา-แดงติ๊บ
ผู้อำนวยการกลุ่มวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพสัตว์น้ำแบบบูรณาการ ไบโอเทค สวทช.
คุณมณทกานติ ท้ามติ้น
ผู้อำนวยการกองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง
คุณจิรบูรณ์ ประสารพันธุ์
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ผลิตปศุสัตว์ (สัตว์น้ำ) บริษัท เบทาโกรเกษตรอุตสาหกรรม จำกัด
ดร. เสจ ไชยเพ็ชร
ผู้ดำเนินรายการ
ดร. เพทาย จรูญนารถ
ผู้ดำเนินรายการ
ดร. วีระพงษ์ วรประโยชน์
กลุ่มวิจัยส่วนผสมฟังก์ชั่นและนวัตกรรมอาหาร ไบโอเทค สวทช.
Dr. Barbara Hostins
INVE aquaculture
คุณจุฑา อินแป้น
ศูนย์วิจัยและปรับปรุงพันธุ์สัตว์น้ำจืดราชบุรี บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน)
คุณอุสมาน นิลสอาด
บริษัท ไทยยูเนี่ยน กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)
คุณธัชวิน วิวัฒนโสภา
บริษัท ทรีโอ้ฟาร์ม จำกัด
ดร. ยศกร ประทุมวัลย์
หัวหน้าทีมวิจัยคอมพิวเตอร์ช่วยในการคำนวณทางวิศวกรรม กลุ่มวิจัยการออกแบบเชิงวิศวกรรมและการคำนวณ เอ็มเทค สวทช.
ดร. ศุภนิจ พรธีระภัทร
ทีมวิจัยเทคโนโลยีเกษตรดิจิทัล ด้านวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบและเครือข่ายอัจฉริยะ เนคเทค สวทช.
คุณบดินทร์ ชีวธนากรณ์กุล
บริษัท อัลจีบา จำกัด
คุณณัฐพงศ์ อตินันทชัย 
บริษัท เอ็มเค อควาเทค จำกัด
อ. วินิจ ตันสกุล
ผู้เชี่ยวชาญด้านกลยุทธ์การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
ดร. อภิรดี หงส์ทอง
หัวหน้าทีมวิจัยชีวศาสตร์และชีววิทยาระบบ กลุ่มวิจัยวิศวกรรมชีวเคมีและชีววิทยาระบบ ไบโอเทค สวทช.
คุณเสริมศักดิ์ พุ้ยมอม
ประธานกรรมการ บริษัท อเดคนิค เอ็นจิเนียริ่ง โซลูชั่น จำกัด
ดร. มีโชค ชูดวง
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ดร. วณิลดา รุ่งรัศมี
ผู้ดำเนินรายการ
ดร. บรรพท ศิริเดชาดิลก
หัวหน้าทีมวิจัยการออกแบบและวิศวกรรมชีวโมเลกุลขั้นแนวหน้า กลุ่มวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพระดับโมเลกุลทางการแพทย์ ไบโอเทค สวทช.
ศ.ดร. สุรินทร บุญอนันธนสาร
สำนักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ดร. ศุภรัตน์ แตงชัยภูมิ
กลุ่มวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพสัตว์น้ำแบบบูรณาการ ไบโอเทค สวทช.
ดร. วัฒนา เปลยันทะ
ศูนย์วิจัยวิทยาศาสตร์แห่งอนาคต สำนักวิชาวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ดร. สรวิศ เผ่าทองศุข
ผู้ดำเนินรายการ
หัวข้อสัมมนาอื่น ๆ