26 มีนาคม 2568

การใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ในงานวิจัยด้านชีววิทยาสังเคราะห์เพื่อการใช้ในอุตสาหกรรมชีวภาพ

Application of AI in Synthetic Biology for Bio-industry

วิทยากร
  • ดร.กอบกุล เหล่าเท้ง
  • ดร.วีระวัฒน์ แช่มปรีดา
  • รองศาสตราจารย์ ดร. ธัญญดา รุ่งโรจน์มงคล
  • รองศาสตราจารย์ ดร.เขมวิทย์ จันต๊ะมา
  • ดร.พีรพัฒน์ คำวชิรพิทักษ์ 
  • คุณวุฒิชัย เหมือนทอง
  • ศาสตราจารย์ ดร.อลิสา วังใน
  • ดร.นาวิน วิริยะเอี่ยมพิกุล
  • ดร.วศิมน เรืองเล็ก
  • ดร.กันตพิชญ์ ปรีดากรณ์
  • ดร.วีรวัฒน์ รังกุพันธุ์ 

การใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ในงานวิจัยด้านชีววิทยาสังเคราะห์เป็นแนวทางที่ได้รับการศึกษาอย่างมาก ซึ่งสามารถนำ AI ไปใช้ได้ตั้งแต่ขั้นตอนการคัดเลือกยีนและเซลล์เจ้าบ้าน การออกแบบวิถีเมตาโบลิก การปรับแต่งรูปแบบการแสดงออกของยีน และการพัฒนาชีวกระบวนการ ซึ่งส่งผลในการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต สารผลิตภัณฑ์เป้าหมาย งานสัมมนานี้จะเป็นการนำเสนอและแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้านการใช้ AI ในงานวิจัย ด้านชีววิทยาสังเคราะห์ โดยผู้เชี่ยวชาญในศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC) และหน่วยงานพันธมิตร เพื่อนำเสนอเทคโนโลยีให้กับภาคการศึกษาและภาคเอกชนที่สนใจ

กำหนดการ
08.30 – 09.30 น. ลงทะเบียน
09.30 – 09.40 น. กล่าวเปิดสัมมนา

โดย ดร.กอบกุล เหล่าเท้ง
รักษาการรองผู้อำนวยการศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

ดำเนินรายการโดย ดร.วีรวัฒน์ รังกุพันธุ์
หัวหน้าทีมวิจัยระบบจุลินทรีย์เพื่อผลิตชีวโมเลกุล
กลุ่มวิจัยเทคโนโลยีไบโอรีไฟเนอรีและชีวภัณฑ์
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

09.40 – 10.00 น. ความสำคัญของเทคโนโลยีชีววิทยาสังเคราะห์ในการพัฒนาอุตสาหกรรมชีวภาพ (Synthetic Biology for Bio-industry)

โดย ดร.วีระวัฒน์ แช่มปรีดา
ผู้อำนวยการกลุ่มวิจัยเทคโนโลยีไบโอรีไฟเนอรีและชีวภัณฑ์
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

10.00 – 10.20 น. AI-Assisted Protein Folding and ML-Guided Optimization of Bioactive Compounds

โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ธัญญดา รุ่งโรจน์มงคล
คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

10.20 – 10.40 น. วิศวกรรมเมทบอลิกร่วมกับวิศวกรรมวิวัฒนาการเพื่อใช้ในการผลิตสารเคมีชีวภาพอย่างมีประสิทธิภาพ (Combined Rational Metabolic Engineering Design and Metabolic Evolution to Achieve Efficient Biochemical Productions)

โดย รองศาสตราจารย์ ดร.เขมวิทย์ จันต๊ะมา
หัวหน้าสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

10.40 – 11.00 น. การใช้การเรียนรู้ของเครื่องเพื่อออกแบบสายพันธุ์จุลินทรีย์และวิถีชีวเคมีเพื่อการผลิตสารมูลค่าสูง (Machine Learning-driven Design of Microbial Strains and Pathways for High-value Compound Production)

โดย ดร.พีรพัฒน์ คำวชิรพิทักษ์
อาจารย์ประจำคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

11.00 – 11.20 น. Machine Learning-Guided Discovery of Promising Enzymes for Bioindustry

โดย คุณวุฒิชัย เหมือนทอง
นักวิจัย กลุ่มวิจัยเทคโนโลยีไบโอรีไฟเนอรีและชีวภัณฑ์
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

11.20 – 12.00 น. การเสวนาเรื่อง “มุมมองการใช้ Synthetic Biology สำหรับอุตสาหกรรมชีวภาพ”

ผู้ร่วมเสวนา

  • ศาสตราจารย์ ดร.อลิสา วังใน
    Chief Technology Officer บริษัท ไบโอม จำกัด
  • รองศาสตราจารย์ ดร.เขมวิทย์ จันต๊ะมา
    หัวหน้าสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • ดร.นาวิน วิริยะเอี่ยมพิกุล
    สำนักประสานงานชุดโครงการ “พลังงาน เคมีและวัสดุชีวภาพ”
    หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.)
  • ดร.วศิมน เรืองเล็ก
    Climate Impact & Circularity Senior Alliance Manager Global Alliances
    บริษัท เอสซีจี เคมิคอลส์ จำกัด (มหาชน)
  • ดร.กันตพิชญ์ ปรีดากรณ์
    นักพัฒนานโยบาย ผู้บริหารโครงการนโยบายที่เกี่ยวข้องกับชีววิทยาสังเคราะห์และวิศวกรรมชีวภาพ (Synthetic and Engineering Biology)
    สำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรมแห่งชาติ
  • ดร.พีรพัฒน์ คำวชิรพิทักษ์
    อาจารย์ประจำคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  •  คุณวุฒิชัย เหมือนทอง
    นักวิจัย กลุ่มวิจัยเทคโนโลยีไบโอรีไฟเนอรีและชีวภัณฑ์
    ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

ดำเนินรายการเสวนาโดย 

ดร.วีรวัฒน์ รังกุพันธุ์
หัวหน้าทีมวิจัยระบบจุลินทรีย์เพื่อผลิตชีวโมเลกุล
กลุ่มวิจัยเทคโนโลยีไบโอรีไฟเนอรีและชีวภัณฑ์
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

เกี่ยวกับวิทยากร
ดร.กอบกุล เหล่าเท้ง
รักษาการรองผู้อำนวยการศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
ดร.วีระวัฒน์ แช่มปรีดา
ผู้อำนวยการกลุ่มวิจัยเทคโนโลยีไบโอรีไฟเนอรีและชีวภัณฑ์ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
รองศาสตราจารย์ ดร.ธัญญดา รุ่งโรจน์มงคล
คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รองศาสตราจารย์ ดร.เขมวิทย์ จันต๊ะมา
หัวหน้าสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ดร.พีรพัฒน์ คำวชิรพิทักษ์
อาจารย์ประจำคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
คุณวุฒิชัย เหมือนทอง
นักวิจัย กลุ่มวิจัยเทคโนโลยีไบโอรีไฟเนอรีและชีวภัณฑ์ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
ศาสตราจารย์ ดร.อลิสา วังใน
Chief Technology Officer บริษัท ไบโอม จำกัด
ดร.นาวิน วิริยะเอี่ยมพิกุล
สำนักประสานงานชุดโครงการ “พลังงาน เคมีและวัสดุชีวภาพ” หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.)
ดร.วศิมน เรืองเล็ก
Climate Impact & Circularity Senior Alliance Manager Global Alliances บริษัท เอสซีจี เคมิคอลส์ จำกัด (มหาชน)
ดร.กันตพิชญ์ ปรีดากรณ์
นักพัฒนานโยบาย ผู้บริหารโครงการนโยบายที่เกี่ยวข้องกับชีววิทยาสังเคราะห์และวิศวกรรมชีวภาพ (Synthetic and Engineering Biology) สำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรมแห่งชาติ
ดร.วีรวัฒน์ รังกุพันธุ์ 
หัวหน้าทีมวิจัยระบบจุลินทรีย์เพื่อผลิตชีวโมเลกุล กลุ่มวิจัยเทคโนโลยีไบโอรีไฟเนอรีและชีวภัณฑ์ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ
หัวข้อสัมมนาอื่น ๆ