นิทรรศการ

NSTDA ANNUAL CONFERENCE 2025

หุ่นยนต์สนทนา รุ่นที่ 2

ติดต่อสอบถาม
ฝ่ายพัฒนาเครือข่ายเชิงกลยุทธ์และประเมินผล (SPE) ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
112 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120
Sontana Robot V2

งานวิจัยที่มุ่งเน้นการบูรณาการระหว่างเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์เชิงสนทนา และแพลตฟอร์มหุ่นยนต์บริการ และเทคโนโลยีการประมวลผลภาพ เพื่อควบคุมการทำงานของหุ่นยนต์ที่มีการติดตั้งแขนกลสำหรับทำภารกิจต่าง ๆ โดยหุ่นยนต์สนทนารุ่นที่ 2 สามารถพูดคุยโต้ตอบและทำงานร่วมกับมนุษย์ ซึ่งช่วยเพิ่มศักยภาพของหุ่นยนต์บริการให้สามารถทำงานตอบสนองต่อคำสั่งของ ผู้ใช้ และปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ดียิ่งขึ้น

ที่มาของงานวิจัย

งานวิจัยนี้จึงเกิดขึ้นจากความต้องการบูรณาการเทคโนโลยี AI เข้ากับหุ่นยนต์บริการเพื่อลดภาระงานซ้ำซ้อน และเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการทั้งภาคอุตสาหกรรมและภาคธุรกิจด้านอื่น ๆ

จุดเด่น/ประโยชน์ของเทคโนโลยี
  • พูดคุย สอบถามข้อมูลกับหุ่นด้วยเสียงผ่านอวทาร์
  • ปรับแต่งเนื้อหาเพื่อถามตอบให้เข้ากับงานเฉพาะได้
  • สร้างแผนที่ และกำหนดตำแหน่งการเคลื่อนที่ได้ 
  • เชื่อมต่อกับโมดูลกล้องเพื่อสร้างข้อมูลสามมิติ
  • ประมวลผลภาพในการตรวจจับวัตถุที่ต้องการ
  • ควบคุมแขนกลในการทำภารกิจต่าง ๆ เช่นหยิบจับสิ่งของ 
  • ควบคุมการเคลื่อนที่ได้ทั้งแบบ Manual และ Automatic 
Audio visual speech synthesis
  • Thai/ASEAN text-to-speech
  • Thai dialect TTS
  • Visual TTS/Avatar Al
Automatic speech recognition
  • Thai speech-to-text
  • Speech enhancement
  • Speaker diarization
  • Speaker verification
  • Speaker identification
  • Pronunciation assessment
Text understanding
  • Natural Language Processing
  • Natural Language Generation
  • Sentiment Analysis
  • Intent Analysis
  • Plagiarism
วิจัยพัฒนาโดย
  • ทีมวิจัยการเข้าใจเสียงและข้อความ (STU) 
  • กลุ่มวิจัยปัญญาประดิษฐ์ (AINRG) 
  • ทีมวิจัยสมองกลอัจฉริยะและความจริงเสมือน (SMR) 
  • กลุ่มวิจัยไอโอทีและระบบอัตโนมัติสำหรับงานอุตสาหกรรม (IIARG)

Keyword: Sontana Robot, AI, สนทนา, อวทาร์